News Clips Online
 หน้าหลัก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
December  2024
Su M Tu W Th F Sa
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031
             
 Today is December 11, 2024
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

News Clips Online
News Clips  ประเภท การศึกษา

กยศ.นัดผู้กู้9หมื่นรายไกล่เกลี่ย เริ่ม8ม.ค.-มี.ค.นี้-ขู่พ้นกำหนดเจอฟ้องแน่
กยศ.นัดผู้กู้เบี้ยวหนี้ประมาณ 9 หมื่นราย มาไกล่เกลี่ยที่ศาลอาญาเพื่อขอประนอมหนี้ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม จนถึงเดือนมีนาคมนี้ ลั่นหากพ้นกำหนดยื่นฟ้องศาลแน่ คาดใช้วงเงิน 400 ล้านบาท
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  8 ม.ค. 51 
 
กยศ.เปิดตัวระบบ
กยศ.ได้ปรับเปลี่ยนวิธีการกู้ยืมเป็นการกู้ยืมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือระบบ E-studentloan ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป โดยที่ระบบ E-studentloan จะช่วยลดระยะเวลาและขั้นตอนการทำงานของทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
หนังสือพิมพ์ข่าวสด:  4 ม.ค. 51 
 
ชี้ม.นอกระบบตัดท่ออำนาจฝ่ายบริหาร - 'วิจิตร' การันตีโอกาสนักศึกษายากจน
นายวิจิตรกล่าวว่า การออกนอกระบบจะทำให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดระบบบริหารของตนเองได้ ทั้งด้านวิชาการ บุคคล และงบฯอย่างอิสระ ภายใต้การกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัย ซึ่งการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐจะขึ้นตรงกับรัฐมนตรีว่าการ ศธ. แต่รัฐมนตรีมีอำนาจแค่กำกับให้มหาวิทยาลัยทำตามนโยบายรัฐ เสนอแนะการจัดเงินอุดหนุนแก่มหาวิทยาลัย ส่วนรายละเอียดบางอย่างนั้น ร่าง พ.ร.บ.ของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจไม่เหมือนกัน
หนังสือพิมพ์มติชน:  21 ธ.ค. 50 
 
กูรูไขปัญหาเด็ก “ไม่อ่าน”
ดร.กุลวรา ชูพงษ์ไพโรจน์ หรือป้ากุลอาจารย์จากภาควิชาวรรณกรรมเด็ก ม.ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และนักเขียน-นักเล่านิทานเด็กชื่อดัง ให้แนวทางการปลูกฝังการรักการอ่านให้เด็กๆ ว่า ผู้ที่จะปลูกฝังนี้ห้ามทำตัวแก่! คือต้องมีหัวใจเป็นเด็ก อย่าเอาความเป็นผู้ใหญ่มาสอนหรือแนะนำให้เด็กอ่านหนังสือ เพราะเด็กไม่ชอบการสั่งสอนตรงๆ ต้องให้ตัวละครเป็นผู้สอน เรื่องที่เริ่มให้เด็กอ่านต้องอบอุ่น หนังสือต้องเล่นไปกับคนอ่านได้ สำหรับเด็กที่ยังอ่านหนังสือไม่ได้ การเล่นนิทานเป็นสิ่งที่จำเป็นและจะเป็นการกระตุ้นให้เด็กรู้สึกสนุกกับเรื่องราว จากนั้นผู้เล่าก็ควรกระตุ้นให้เด็กหัดอ่านหรือมีส่วนร่วมในเรื่องราวที่กำลังเล่านั้นๆ ด้วย
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  19 ธ.ค. 50 
 
เปิดหลักสูตรขั้นพื้นฐานโฉมใหม่ เน้นคิดเป็น คุมชม.เรียนทั้งช่วงชั้น-กลุ่มวิชา
สพฐ. เผยร่างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานปรับปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้ว ยังคง 8 กลุ่มสาระวิชา เพียงแต่ปรับตัวชี้วัดให้ชัดเจนขึ้นโดยมุ่งเน้นสร้างกระบวนการคิดพร้อมกำหนดเวลาเรียนขั้นต่ำในทุกช่วงชั้นและกลุ่มสาระวิชา ผอ.สำนักวิชาการเตรียมนำประชาพิจารณ์ 4 ภาค หลังเสนอให้ กพฐ.พิจารณาไป เพราะที่ผ่านมาปล่อย ร.ร.จัดเวลาเรียน ส่งผลการเรียนการสอนของแต่ละร.ร.ต่างกันมาก
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  18 ธ.ค. 50 
 
สพฐ.หนุนอธิการบดี ใช้คะแนน"ความดี" ยึดคุณธรรมในหลวง
นายวิรุณ ตั้งเจริญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวว่า มศว ได้นำความดีของนักเรียนมาประกอบการเข้าศึกษาต่อในระบบ รับตรงกับคณะศิลปกรรมศาสตร์ และคณะมนุษย ศาสตร์เป็นเวลา 10 ปีแล้ว เนื่องจากเป็นสาขาที่เน้นการทำกิจกรรมประกอบการเรียน พบว่านักศึกษากลุ่มดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นนักกิจกรรม ซึ่งช่วยดึงนักศึกษาคณะอื่นเข้าร่วม ดังนั้น ในปี 2551 จะขยายไปถึงทุกคณะวิชา โดยเน้นกิจกรรมเด่นๆ ของนักเรียนแต่ละคน
หนังสือพิมพ์มติชน:  17 ธ.ค. 50 
 
วิจิตร หารือ 10 อธิการ ม.ในกำกับ ตั้งเกณฑ์ประเมินกลางวัดคุณภาพ นศ.
วิจิตร หารือ 10 อธิการบดี ม.ในกำกับ มีมติตั้งเกณฑ์ประเมินกลางร่วมกับเกณฑ์ประเมินแต่ละสาขา วัดพัฒนาการนักศึกษา พร้อมแจงเอา ม.ของรัฐ กับ ม.ในกำกับ มาเทียบกันไม่ได้ ต้องดูจาก ม.ของรัฐ ที่เปลี่ยนเป็น ม.ในกำกับ อย่าง มจธ.ที่พัฒนาการขึ้น แต่ไม่เคยมีใครฟังเสียง
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  17 ธ.ค. 50 
 
ทปอ.ยันให้สอบ “โอเน็ต” ครั้งเดียว แต่ให้มหา'ลัยเปิดช่องสอบรับตรง
ทปอ.ยืนยันให้เด็กสอบโอเน็ตเพียงแค่ครั้งเดียว แต่จะให้มหาวิทยาลัยต่างๆ เปิดช่องให้เด็กที่ไม่มีคะแนนโอเน็ตสอบเข้ารับตรงของแต่ละมหาวิทยาลัยหลายช่องทางขึ้น ส่วนเด็กที่พลาดสอบโอเน็ตในปีที่จบ ม.6 จะประสาน สทศ.ให้จัดสอบให้ในวันอื่นภายหลัง “วันชัย” ระบุแอดมิชชันปี 51 คะแนนความดีจะถูกนำมาพิจารณาในรอบสัมภาษณ์และถูกนำมาใช้เพิ่มความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  15 ธ.ค. 50 
 
เรียนรู้อยู่ร่วมชุมชน ร.ร.เล็กที่ไม่ยอมจำนน
เช้าเรียนวิชาการกับครูที่สพฐ.ส่งมาบ่ายๆเรียนกับครูชาวบ้านๆ จากเรียนพรุก็เข้าป่าพรุไปเลย จับปลาไหลก็ต้องไปที่ชายทุ่งเอากันจะจะ จับกันเป็นๆ สาดจูดต้องรู้จักต้นจูดเสียก่อนถึงจะสานเป็น เหล่านี้คือภูมิปัญญาในพื้นที่มีมีอยู่แล้ว และชาวบ้านๆในชุมชนคือครูที่ดีของเด็กๆ ทำให้พวกเขามีความสุข ว่างๆจากการเรียนเสร็จก็เล่นน้ำในคลองนั่นแหละ ถ้ายุบโรงเรียนแล้วเด็กๆจะได้ซึมซับสิ่งเหล่านี้จากที่ไหน เป็นเรื่องที่ชุมชนและรัฐต้องตระหนัก"
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  2 ธ.ค. 50 
 
ปฏิญญาพัฒนาคุณภาพการศึกษา
พูลศักดิ์ เทศนิยม ผอ.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) เมื่อได้เห็นรายละเอียดทั้ง 8 ของปฏิญญานี้ ก็บอกทันทีว่า ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ เป็นเรื่องที่พูดกันซ้ำ ๆ ซาก ๆ ทำนองว่าการประกาศปฏิญญาที่ออกมาเป็นเพียงการสร้างภาพที่ทำให้ดูสวยหรูเท่านั้นเอง...ถ้าจะทำให้คุณภาพการศึกษาเกิดจริง ต้องไปเริ่มพัฒนาที่ตัวครูก่อน
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  28 พ.ย. 50 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [47] [48] [49] [50] [51] [52] [53] [54] [55] [56] [57] [58] [59] [60] [61] [62] [63] [64] [65] [66] [67] [68] [69] [70] [71] [72] [73] [74] [75] [76] [77] [78] [79] [80] [81] [82] [83] [84] [85] [86] [87] [88] [89] [90] [91] [92] [93] [94] [95] [96] [97] [98] [99] [100] [101] [102] [103] [104] [105] [106] [107] [108] [109] [110] [111] [112] [113] [114] [115] [116] [117] [118] [119] [120] [121] [122] [123] [124] [125] [126] [127] [128] [129] [130] [131] [132] [133] [134] [135] [136] [137] [138] [139] [140] [141] [142] [143] [144] [145] [146] [147] [148] [149] [150] [151] [152] [153] [154] [155] [156] [157] [158] [159] [160] [161] [162] [163] [164] [165] [166] [167] [168] [169] [170] [171] [172] [173] [174] [175] [176] [177] [178] [179] [180] [181] [182] [183] [184] [185] [186] [187] [188] [189] [190] [191] [192] [193] [194] [195] [196] [197] [198] [199] [200] [201] [202] [203] [204] [205] [206] [207] [208] [209] [210] [211] [212] [213] [214] [215] [216] [217] [218] [219] [220] [221] [222] [223] [224] [225] [226] [227] [228] [229] [230] [231] [232] [233] [234] [235] [236] [237] [238] [239] [240] [241] [242] [243] [244] [245] [246] [247] [248] [249] [250] [251] [252] [253] [254] [255] [256] [257] [258] [259] [260] [261] [262] [263] [264] [265] [266] [267] [268] [269] [270] [271] [272] [273] [274] [275] [276] [277] [278] [279] [280] [281] [282] [283] [284] [285] [286] [287] [288] [289] [290] [291] [292] [293] [294] [295] [296] [297] [298] [299] [300] [301] [302] [303] [304] [305] [306] [307] [308] [309] [310] [311] [312] [313] [314] [315] [316] [317] [318] [319] [320] [321] [322] [323] [324] [325] [326] [327] [328] [329] [330] [331] [332] [333] [334] [335] [336] [337] [338] [339] [340] [341] [342] [343] [344] [345] [346] [347] [348] [349] [350] [351] [352] [353] [354] [355] [356] [357] [358] [359] [360] [361] [362] [363] [364] [365] [366] [367] [368] [369] [370] [371]  372  [373] [374] [375] [376] [377] [378] [379] [380] [381] [382] [383] [384] [385] [386] [387] [388] [389] [390] [391] [392] [393] [394] [395] [396] [397] [398] [399] [400] [401] [402] [403] [404] [405] [406] [407] [408] [409] [410] [411] [412] [413] [414] [415] [416] [417] [418] [419] [420] [421] [422] [423] [424] [425] [426] [427] [428] [429] [430] [431] [432] [433] [434] [435] [436] [437] [438] [439] [440] [441] [442] [443] [444] [445] [446] [447] [448] [449] [450] [451] [452] [453] [454] [ Next -> ]

News Clips Online