News Clips Online
 หน้าหลัก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
December  2024
Su M Tu W Th F Sa
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031
             
 Today is December 11, 2024
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

News Clips Online
News Clips  ประเภท การศึกษา

สทศ.รอฟัง"ณรงค์"แจงลดสอบโอเน็ต
ผศ.นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาฯ สนช. คนที่ 1 กล่าวว่า ทปอ.ได้ทำวิจัยระบบการเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา โดยศึกษาเปรียบเทียบเด็กที่เข้าเรียนระบบรับตรงกับระบบแอดมิชชั่น หากผลวิจัยออกมาว่า เด็กที่เข้าศึกษาในระบบใดมีคุณภาพ ในอนาคตมหาวิทยาลัยก็ควรเพิ่มสัดส่วนการรับเด็กเข้าเรียนในระบบดังกล่าวให้มากขึ้น ดังนั้น ขณะนี้จึงยังไม่สามารถบอกได้ชัดเจนว่าควรจะจัดสัดส่วนการรับเด็กเข้าเรียนในระบบใดมากกว่ากัน
ศ.ดร.สมคิด
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ:  7 พ.ย. 57 
 
'มศว'วิจัย'รับตรง-แอดมิสชั่นส์'ชงศธ.เคาะใครเจ๋งเพิ่มสัดส่วน
นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ในฐานะรองประธาน กมธ.การศึกษาและกีฬา สนช.คนที่ 1 เปิดเผยว่า จากการหารือร่วมกับ พล.ร.อ.ณรงค์ เห็นสอดคล้องกันว่า ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ควรเป็นระบบหลากหลาย คัดเลือกนิสิตนักศึกษาเข้าเรียนได้ตรงตามคณะและสาขาที่ต้องการ เป็นระบบที่มีความเป็นธรรม และไม่สร้างภาระให้กับเด็กและผู้ปกครอง ดังนั้นการรับนิสิตนักศึกษาจึงจำเป็นต้องมี 2 ระบบ คือ ระบบรับตรงและระบบแอดมิสชั่นส์ จึงจะตอบโจทย์ข้างต้นได้
หนังสือพิมพ์มติชน:  7 พ.ย. 57 
 
วิจัยวัดแอดมิชชั่น
นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการ (กมธ.) การศึกษาและกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่ 1 กล่าวถึงกรณีที่ พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ต้องการให้มหาวิทยาลัยต่างๆ กำหนดสัดส่วนการรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ระหว่างระบบรับตรงและระบบแอดมิชชั่นให้ชัดเจน ว่า จากการหารือร่วมกับ รมว.ศธ. เห็นสอดคล้องกันว่าระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาควรเป็นระบบที่มีความหลากหลาย เหมาะสม และสามารถคัดเลือกนักศึกษาเข้าเรียนได้ตรงตามที่คณะ/สาขาต้องการ เป็นระบบที่มีความเป็นธรรม และไม่สร้างภาระให้กับเด็กและผู้ปกครอง ดังนั้นการรับนักเรียนเข้าเรียนต่อในสถาบันอุดมศึกษาจึงจำเป็นต้องมี 2 ระบบ คือระบบรับตรง และระบบแอดมิชชั่น จึงจะตอบโจทย์ได้
หนังสือพิมพ์มติชน:  7 พ.ย. 57 
 
ศธ.ไฟเขียว"ตั๋วครูชั่วคราว"เปิดทางสอน86สาขาอาชีวะ
นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการ (กมธ.)การศึกษาและกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่ 1 กล่าวว่า จากการหารือร่วมกับ พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เห็นสอดคล้องกันว่า ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ควรเป็นระบบที่มีความหลากหลาย เหมาะสม และสามารถคัดเลือกนักศึกษาเข้าเรียนได้ตรงตามที่คณะ/สาขาต้องการ เป็นระบบที่มีความเป็นธรรม และไม่สร้างภาระให้กับเด็กและผู้ปกครอง
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ:  7 พ.ย. 57 
 
หนุนแบ่งสัดส่วนให้ชัดแอดมิชชั่น
ผศ.นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่ 1 เปิดเผยว่า จากการหารือเรื่องระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ร่วมกับ พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รมว.ศึกษาธิการ และผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อเร็ว ๆ นี้ ที่ประชุมมีความเห็นสอดคล้องกันที่ต้องการให้เป็นระบบที่มีความหลากหลาย
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  7 พ.ย. 57 
 
'ณรงค์'ยันไม่ยุบโรงเรียนขนาดเล็ก
เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปิดเผยกรณีที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำรัสตอนหนึ่งในโอกาสทรงบรรยายพิเศษเรื่อง "อดีตเพื่ออนาคต : การศึกษาเพื่อการ พัฒนาประเทศ" ว่ามีเด็กขาดโอกาสทางการศึกษา เพราะไม่มีโรงเรียนใกล้บ้าน และที่ผ่านมาจะแก้ปัญหาโดยใช้ระบบไอซีที การเรียนการสอนทางไกล ศูนย์การเรียนชุมชน ซึ่งไม่แน่ใจว่าจะได้ผลมากน้อยแค่ไหน
หนังสือพิมพ์มติชน:  6 พ.ย. 57 
 
สนองดำรัสพระเทพฯปรับวิธีบริหารจัดการเด็กได้เรียนใกล้บ้าน
ความคืบหน้าภายหลังสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำรัสตอนหนึ่งในโอกาสทรงบรรยายพิเศษเรื่อง "อดีตเพื่ออนาคต : การศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ" ว่ามีเด็กจำนวนหนึ่งขาดโอกาสทางการศึกษา เพราะไม่มีโรงเรียนใกล้บ้าน พ่อแม่ไม่อยากให้ลูกเดินทางไกล เพราะบางคนกว่าจะเดินถึงโรงเรียนก็เย็น เรียนมา 4 ปีปรากฏว่าไม่รู้หนังสือ หรือนักเรียนบางคนที่ได้คะแนนไม่ดี เพราะเรียนกับทีวี ขณะที่ในเมืองมีนักเรียนห้องละ 50-60 คนนั่งเบียดเสียดกัน
หนังสือพิมพ์มติชน:  5 พ.ย. 57 
 
พระเทพฯทรงห่วงเด็กขาดศึกษาร.ร.ใกล้บ้านถูกยุบ-4ปีอ่านไม่ได้
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงบรรยายเรื่อง "อดีตเพื่ออนาคต : การศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ" ตอนหนึ่งว่า ในอดีตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ที่ทรงปฏิรูปการศึกษา และการจัดการศึกษาเพื่อ ปวงชน โดยทรงมีพระราชดำรัสว่า "ไม่ว่าใคร จะเป็นลูกใคร หรือเป็นพระโอรส พระธิดาของพระองค์เอง หรือเป็นลูกของใครที่ไหนในประเทศไทย ต้องจัดให้มีโอกาสทางการศึกษาได้เท่าเทียมเท่ากัน ซึ่งตามหลักการแล้ว คนไทยทุกคนต้องมีโอกาสทางการศึกษา สามารถอ่านออกเขียนได้ เพื่อไม่ให้ถูกหลอก ทำงานเพื่อประเทศชาติได้ เพื่อตัวเองได้ รู้หนังสือ รู้วิชาชีพ" ตรงนี้ต่อไปในอนาคตต้องขยายมากกว่านั้น ไม่ใช่เฉพาะคนไทย แต่ต้องเป็นทุกคนที่อยู่ในไทย และนอกประเทศ ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นหน้าที่ของทุกคน ทั้งรัฐบาลและเอกชนที่ต้องร่วมจัดการศึกษา
หนังสือพิมพ์มติชน:  5 พ.ย. 57 
 
"พระเทพ"ทรงย้ำจัดการศึกษาในอนาคต
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นองค์ประธานเนื่องในงาน "วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี" ครั้งที่ 26 และ วาระครบ 40 ปี บัณฑิตวิทยาลัย โดยมี ผศ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดี มศว คณาจารย์ และพระสหายร่วมชั้นระหว่างทรงศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาพัฒนาศึกษาศาสตร์ เฝ้ารับเสด็จ โอกาสนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงบรรยายเรื่อง"อดีตเพื่ออนาคต : การศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ" ความตอนหนึ่งว่า คนในอดีตที่จัดการศึกษาได้ดีคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ที่ปฏิรูปการศึกษาและจัดการศึกษาเพื่อปวงชนที่ทรงให้คนไทยทุกคนมีโอกาส ทางการศึกษาที่เท่าเทียมกัน ซึ่งโอกาสทางการศึกษา ในอนาคตต้องขยายกว้างไม่ใช่แค่คนไทยทุกคนแต่ต้องเป็นทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย รวมทั้งคนไทยในต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ทุกคนทั้งรัฐบาลและเอกชน
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ:  5 พ.ย. 57 
 
ศธ.รับสนองพระราชดำรัสจัดการศึกษา
จากที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำรัสในโอกาสทรงบรรยายพิเศษเรื่อง "อดีตเพื่ออนาคต : การศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ" เมื่อเร็ว ๆ นี้ รศ.นพ.กำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กล่าวว่า พระองค์ท่านทรงแนะนำแนวทางการจัดการศึกษาในอนาคตว่า ขณะนี้คนมีอายุยืนขึ้น ดังนั้นต้องให้ผู้สูงอายุสามารถเรียนได้ในทุกหลักสูตรและทุกระดับ โดยเฉพาะระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อ นั้น ในส่วนของอุดมศึกษาจะต้องเปิดโอกาสให้คนทุกช่วงวัยที่ต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีได้เรียนมากขึ้น จากที่ผ่านมาก็มีการเปิดโอกาสอยู่แล้ว
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  5 พ.ย. 57 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [47] [48] [49] [50] [51] [52] [53] [54] [55] [56] [57] [58] [59] [60] [61] [62] [63] [64] [65] [66] [67] [68] [69] [70] [71] [72] [73] [74] [75] [76] [77] [78] [79] [80] [81] [82] [83] [84] [85] [86] [87] [88] [89] [90] [91] [92] [93] [94] [95] [96] [97] [98] [99] [100] [101] [102] [103] [104] [105] [106] [107] [108] [109] [110] [111] [112] [113] [114] [115] [116] [117] [118] [119] [120] [121] [122] [123] [124] [125] [126] [127] [128] [129] [130] [131] [132] [133] [134] [135] [136] [137] [138] [139] [140] [141] [142] [143] [144] [145] [146] [147] [148] [149] [150] [151] [152] [153] [154] [155] [156] [157] [158] [159] [160] [161] [162] [163] [164] [165] [166] [167] [168] [169] [170] [171] [172] [173] [174] [175] [176] [177] [178] [179] [180] [181] [182] [183] [184] [185] [186] [187] [188] [189] [190] [191] [192] [193] [194] [195] [196] [197] [198] [199] [200] [201] [202] [203] [204] [205] [206] [207] [208] [209] [210] [211] [212] [213] [214] [215] [216] [217] [218] [219] [220] [221] [222] [223] [224] [225] [226] [227] [228] [229] [230] [231] [232] [233] [234] [235] [236] [237] [238] [239] [240] [241] [242] [243] [244]  245  [246] [247] [248] [249] [250] [251] [252] [253] [254] [255] [256] [257] [258] [259] [260] [261] [262] [263] [264] [265] [266] [267] [268] [269] [270] [271] [272] [273] [274] [275] [276] [277] [278] [279] [280] [281] [282] [283] [284] [285] [286] [287] [288] [289] [290] [291] [292] [293] [294] [295] [296] [297] [298] [299] [300] [301] [302] [303] [304] [305] [306] [307] [308] [309] [310] [311] [312] [313] [314] [315] [316] [317] [318] [319] [320] [321] [322] [323] [324] [325] [326] [327] [328] [329] [330] [331] [332] [333] [334] [335] [336] [337] [338] [339] [340] [341] [342] [343] [344] [345] [346] [347] [348] [349] [350] [351] [352] [353] [354] [355] [356] [357] [358] [359] [360] [361] [362] [363] [364] [365] [366] [367] [368] [369] [370] [371] [372] [373] [374] [375] [376] [377] [378] [379] [380] [381] [382] [383] [384] [385] [386] [387] [388] [389] [390] [391] [392] [393] [394] [395] [396] [397] [398] [399] [400] [401] [402] [403] [404] [405] [406] [407] [408] [409] [410] [411] [412] [413] [414] [415] [416] [417] [418] [419] [420] [421] [422] [423] [424] [425] [426] [427] [428] [429] [430] [431] [432] [433] [434] [435] [436] [437] [438] [439] [440] [441] [442] [443] [444] [445] [446] [447] [448] [449] [450] [451] [452] [453] [454] [ Next -> ]

News Clips Online