News Clips Online
 หน้าหลัก  ข่าวประจำสัปดาห์  มศว ในข่าว  สมาชิก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
September  2023
Su M Tu W Th F Sa
     12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930
             
 Today is September 29, 2023
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

ข่าวและกิจกรรม
ปฏิทิน มศว
ข่าวประกวดราคา/สอบราคา
หนังสือเวียน

News Clips Online
News Clips  ประเภท การศึกษา

นักวิชาการจี้สทศ.เลิกใช้ข้อสอบปรนัย นำอัตนัยวัดผลวิชาวิทย์-คณิตนักเรียนเข้ามหา"ลัย
ศ.ดร.ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) และประธานคณะกรรมการผู้ดูแลวิชาคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมป์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) เปิดเผยว่า การจะทำให้เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ไม่ตกต่ำนั้น ต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการสอบในทุกระดับ โดยเฉพาะข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
หนังสือพิมพ์ข่าวสด:  15 ธ.ค. 51 
 
มศว” แจงมีผลเสีย จี้ ศธ.เลิกสอบปรนัย
ศ.ดร.ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) และประธานคณะกรรมการผู้ดูแลวิชาคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) เปิดเผยว่า การจะทำให้เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ไม่ตกต่ำนั้น จะต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ตลอดถึงการออกข้อสอบในทุกระดับ
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง:  15 ธ.ค. 51 
 
จี้เลิกสอบปรนัยทุกระดับ รุกศธ.ทบทวนการเรียนซ้ำชั้น
ประธานคณิตศาสตร์ สอวน.จี้เลิกสอบปรนัยทุกระดับชั้น ยก ญี่ปุ่น อังกฤษ มาเลย์ สิงคโปร์ ต้นแบบสอบอัตนัยคัดเด็กเข้ามหาวิทยาลัย ชี้สอนเพื่อสอบแข่งขันทำการศึกษาชาติล่ม แฉ! ให้ครูพละสอน "คณิต-วิทย์" แก้ปัญหาครูขาด อย่าหวังผลสัมฤทธิ์การศึกษาเด็กไทยจะดีขึ้น รุก ศธ.ทบทวนการเรียนซ้ำชั้น เผยอดีต ม.8 ตกซ้ำชั้นยังเอนท์ติดแพทย์
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  15 ธ.ค. 51 
 
รุก ศธ.ทบทวนเรียนซ้ำชั้น เลิกใช้ข้อสอบปรนัยวัดผลเด็ก
ศ.ดร.ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) และประธานคณะกรรมการผู้ดูแลวิชาคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมป์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) เปิดเผยเมื่อวันที่ 12 ธันวาคมว่า การจะทำให้เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ไม่ตกต่ำนั้น เราต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการ สอบเข้ามหาวิทยาลัย
หนังสือพิมพ์มติชน:  15 ธ.ค. 51 
 
เรียกร้องให้ยกเลิกข้อสอบปรนัย
ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มศว ก็มองว่าคุณภาพเด็กไทยตกต่ำเพราะข้อสอบปรนัย พร้อมเรียกร้องให้ยกเลิกข้อสอบปรนัยในการคัดเด็กเข้าสู่อุดมศึกษา
หนังสือพิมพ์ข่าวสด:  15 ธ.ค. 51 
 
ชูแผนวาระชาติยกคุณภาพ"วิทย์-คณิต
นายปรีชาญ เดชศรี ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท. เปิดเผยว่า กรณีที่หลายฝ่ายวิจารณ์ว่าการตั้งเป้าที่จะยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของเด็กไทยให้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยนานาชาติในอีก 10 ปี เป็นไปได้ยากนั้น เป็นการตั้งเป้าเพื่อจะได้ไปถึงจุดหมาย ซึ่งเป็นความท้าทาย แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ลำพัง สสวท.ทำคงไม่สำเร็จ โดยจะต้องมีแผนวาระแห่งชาติที่จะยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนคณิต วิทย์ และเทคโนโลยี โดยบรรจุแนวทางการแก้ไขปัญหาทุกเรื่อง ทั้งครู ผู้บริหาร นักเรียน ศึกษานิเทศก์ แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ
หนังสือพิมพ์มติชน:  12 ธ.ค. 51 
 
ประธาน สอวน.ระบุต้นเหตุผลสัมฤทธิ์วิทย์-คณิตตกต่ำ เพราะข้อสอบปรนัย
ศ.ดร.ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ประธานคณะกรรมการผู้ดูแลวิชาคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ (สอวน. ) กล่าวถึงข้อมูลที่สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เปิดเผยว่าเด็กไทยได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยนานาชาติ ทั้งนี้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 2 วิชายังต่ำกว่าช่วงปี 2542 – 2546 ว่าเป็นเรื่องจริง และเป็นปัญหาที่หมักหมมอยู่ในระบบการเรียนการสอนในสังคมไทยมานานมาก
หนังสือพิมพ์สยามรัฐ:  11 ธ.ค. 51 
 
ชี้ข้อสอบปรนัยทำลายชาติทำข้อสอบได้แต่ไม่มีความรู้
ศ.ดร.ณรงค์ ปั้นนิ่ม อาจารย์สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ประธานคณะกรรมการผู้ดูแลวิชาคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) กล่าวถึงผลวิจัยที่ว่าเด็กไทยได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยนานาชาติว่า เรื่องนี้เป็นปัญหาที่หมักหมมอยู่ในระบบการศึกษาไทยมานานมาก เพราะครูไทยใช้ข้อสอบปรนัยมาวัดผลเด็ก ซึ่งเป็นข้อสอบที่ไม่ได้พัฒนาระบบคิดการใช้เหตุผล แต่เป็นข้อสอบที่ทำลายเด็กไทย
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  11 ธ.ค. 51 
 
ชี้ข้อสอบปรนัยต้นเหตุการศึกษาไทยตกต่ำ
ประธานวิชาคณิตศาสตร์ สอวน.ระบุชัดข้อสอบปรนัยต้นเหตุผลสัมฤทธิ์การศึกษาเด็กไทยตกต่ำ ชี้ครูไทยมุ่งสอนเพื่อไปสอบแข่งขัน มากกว่าสอนให้เด็กมีความรู้ สอบไม่ผ่านก็เลื่อนชั้นได้ เด็กจึงไม่ตั้งใจเรียน
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  11 ธ.ค. 51 
 
อจ.มศวฟันธง"ปรนัย"ต้นเหตุ เด็กไทยอ่อนแอ"วิทย์-คณิต
อาจารย์ มศว ออกโรงชำแหละ ต้นเหตุผลสัมฤทธิ์"คณิต-วิทย์"เด็กไทยตกต่ำ มีปัจจัยทั้งใช้ข้อสอบปรนัยวัดผล ไม่พัฒนาระบบคิดนักเรียน ไม่ให้เด็กตกซ้ำชั้น จนละเลยการเรียน แถมครูยังติดกับดักสอนแบบถาม-ตอบ ชี้สสวท.ตั้งเป้า 10 ปีพัฒนาได้ไม่ง่าย
หนังสือพิมพ์มติชน:  11 ธ.ค. 51 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [47] [48] [49] [50] [51] [52] [53] [54] [55] [56] [57] [58] [59] [60] [61] [62] [63] [64] [65] [66] [67] [68] [69] [70] [71] [72] [73] [74] [75] [76] [77] [78] [79] [80] [81] [82] [83] [84] [85] [86] [87] [88] [89] [90] [91] [92] [93] [94] [95] [96] [97] [98] [99] [100] [101] [102] [103] [104] [105] [106] [107] [108] [109] [110] [111] [112] [113] [114] [115] [116] [117] [118] [119] [120] [121] [122] [123] [124] [125] [126] [127] [128] [129] [130] [131] [132] [133] [134] [135] [136] [137] [138] [139] [140] [141] [142] [143] [144] [145] [146] [147] [148] [149] [150] [151] [152] [153] [154] [155] [156] [157] [158] [159] [160] [161] [162] [163] [164] [165] [166] [167] [168] [169] [170] [171] [172] [173] [174] [175] [176] [177] [178] [179] [180] [181] [182] [183] [184] [185] [186] [187] [188] [189] [190] [191] [192] [193] [194] [195] [196] [197] [198] [199] [200] [201] [202] [203] [204] [205] [206] [207] [208] [209] [210] [211] [212] [213] [214] [215] [216] [217] [218] [219] [220] [221] [222] [223] [224] [225] [226] [227] [228] [229] [230] [231] [232] [233] [234] [235] [236] [237] [238] [239] [240] [241] [242] [243] [244] [245] [246] [247] [248] [249] [250] [251] [252] [253] [254] [255] [256] [257] [258] [259] [260] [261] [262] [263] [264] [265] [266] [267] [268] [269] [270] [271] [272] [273] [274] [275] [276] [277] [278] [279] [280] [281] [282] [283] [284] [285] [286] [287] [288] [289] [290] [291] [292] [293] [294] [295] [296] [297] [298] [299] [300] [301] [302] [303] [304] [305] [306] [307] [308] [309] [310] [311] [312] [313] [314] [315] [316] [317] [318] [319] [320] [321] [322] [323] [324] [325] [326] [327] [328] [329] [330] [331]  332  [333] [334] [335] [336] [337] [338] [339] [340] [341] [342] [343] [344] [345] [346] [347] [348] [349] [350] [351] [352] [353] [354] [355] [356] [357] [358] [359] [360] [361] [362] [363] [364] [365] [366] [367] [368] [369] [370] [371] [372] [373] [374] [375] [376] [377] [378] [379] [380] [381] [382] [383] [384] [385] [386] [387] [388] [389] [390] [391] [392] [393] [394] [395] [396] [397] [398] [399] [400] [401] [402] [403] [404] [405] [406] [407] [408] [409] [410] [411] [412] [413] [414] [415] [416] [417] [418] [419] [420] [421] [422] [423] [424] [425] [426] [427] [428] [429] [430] [431] [432] [433] [434] [435] [436] [ Next -> ]

News Clips Online