News Clips Online
 หน้าหลัก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
May  2025
Su M Tu W Th F Sa
    123
45678910
11121314151617
18192021222324
25262728293031
             
 Today is May 16, 2025
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

News Clips Online
News Clips  ประเภท เทคโนโลยี

อว.นำคณะนักประดิษฐ์และนักวิจัยไทย คว้ารางวัลระดับนานาชาติ
ผลงานเรื่อง นวัตกรรมโพรไบโอติกสายพันธุ์ไทยเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มาลัย ทวีโชติภัทร์ และคณะ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  21 เม.ย. 68 
 
'เอพี ไทยแลนด์' อัปเดต10ขั้นตอนหลังแผ่นดินไหว
บริษัทฯ ได้ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขา จัดตั้งคณะสำรวจเพื่อประเมินผลกระทบที่ได้รับ ประกอบด้วย วิศวกรผู้ทรงคุณวุฒิ และบริษัทผู้เชี่ยวชาญ โดยแบ่งออกเป็น 7 ทีม เพื่อดำเนินการตรวจสอบทุกโครงการอย่างละเอียด และออกใบรับรองรับประกันความปลอดภัยอาคารโดยวิศวกรผู้ทรงคุณวุฒิ นำการตรวจสอบโดย 1. ผศ.ดร.อาทิตย์ เพชรศศิธร ผู้ช่วยอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รองศาสตราจารย์ ว่าที่ ร.ต.ดร.ศุภชัย สินถาวร รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3. คุณชาย แสงไสว วุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา (วย.2190) ที่ปรึกษาวิศวกรโครงสร้างอาวุโส บริษัท ซี เอส 2190 จำกัด และ 4. คุณกิตติภพ พฤกษากิจขจี วุฒิวิศวกร (วย.1571) ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัท โบลดอร์ สจ๊วต จำกัด
ฐานเศรษฐกิจ:  9 เม.ย. 68 
 
การรับมือหลังแผ่นดินไหวกับการตรวจสอบ
วิทการ จันทวิมล รองกรรมการ ผู้อำนวยการ สายงานกลยุทธ์องค์กรและการสร้างสรรค์ เอพี ไทยแลนด์ กล่าวว่าทันทีหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว ทีมงานของ เอพี ไทยแลนด์ ได้ระดมผู้เชี่ยวชาญ 7 ทีม จากหลากหลายสาขาเข้ามาตรวจสอบ ทุกโครงการ โดยการนำทีมโดยบุคคลที่มีชื่อเสียงในวงการวิศวกรรม เช่น ผศ. ดร.อาทิตย์ เพชรศศิธร จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ รศ. ดร.ศุภชัย สินถาวร จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รวมถึงที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทต่าง ๆ
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ:  8 เม.ย. 68 
 
แผ่นดินไหว 8.2 ริกเตอร์ บททดสอบความเชื่อมั่นคอนโด-ตึกสูงในไทย
แผ่นดินไหว 8.2 ริกเตอร์ที่มีจุดศูนย์กลางในสหภาพพม่า ส่งแรงเขย่ามาถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันศุกร์ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา

ปรากกฏว่าวงการตึกสูงในกรุงเทพฯ ที่มีการก่อสร้างเสร็จและเปิดใช้อาคารแล้ว ไม่มีตึกใดพังทลายลงมาแม้แต่ตึกเดียว ในขณะที่มีเพียง 1 ตึกที่เป็นโครงการสำนักงานใหม่ของ "สตง.-สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน" ที่กำลังก่อสร้างแล้วมีภาพตึกถล่ม และแทบจะกลายเป็นภาพเดียวที่สื่อต่างประเทศนำไปใช้นำเสนอข่าว จนกลบข้อเท็จจริงของตึกสูงในกรุงเทพฯ ทุกตึกยังอยู่ครบถ้วน
หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ:  2 เม.ย. 68 
 
เปิดยุทธศาสตร์สู้ 'ภัยพิบัติ'
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดเวที เสวนา "ก้าวข้ามธรณีพิโรธ : นวัตกรรม ววน. พลิกเกมภัยแผ่นดินไหว เพื่ออนาคตที่ปลอดภัยของไทย" ถอดบทเรียนกรณีแผ่นดินไหวขนาด 8.2 ในประเทศเมียนมาที่สะเทือนถึงประเทศไทย
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ:  1 เม.ย. 68 
 
“กระดาษทนรังสีแกมมา” จุดเริ่มต้นเพื่อต่อยอดสู่ชุดอวกาศ
นักวิจัยจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ร่วมกับนักวิจัยจากอีกหลายหน่วยงาน ได้แก่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยมหิดล ได้ร่วมพัฒนากระดาษทนรังสีแกมมาซึ่งเป็นรังสีที่มีสมบัติทะลุทะลวงสูง
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง:  13 มี.ค. 68 
 
'ปูนไฮดรอลิก' 1 ตัน ลดก๊าซฯได้ 50 กก.
กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กรมยุทธบริการทหาร ใช้ในโครงการพัฒนาพื้นที่, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งานปรับปรุงถนนและระบบระบายน้ำโดยรอบมหาวิทยาลัย
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ:  12 มี.ค. 68 
 
เยี่ยมชมผลงานนิสิต
รศ.ดร.ชลวิทย์ เจียรจิตต์ และ รศ.ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม รองอธิการฯ มศว ต้อนรับ ฌอง ท็อด ผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติ นำคณะเยี่ยมชมผลงานนิสิต โครงการส่งเสริมความปลอดภัย ไม่ใช้โทรศัพท์ขณะเดินทาง
หนังสือพิมพ์ข่าวสด:  13 พ.ย. 67 
 
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General's Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก WHO ประเทศไทย และ สสส. ในการเยี่ยมชมผลงานนิสิต โครงการส่งเสริมความปลอดภัย ไม่ใช้โทรศัพท์ระหว่างเดินทาง
หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์:  12 พ.ย. 67 
 
กล้อง AI ตรวจจับ 'ใส่หมวกกันน็อก'
ครงการมาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนนในสถาบันอุดมศึกษา โดยความร่วมมือระหว่าง สสส. และองค์การอนามัยโลก ประจำประเทศไทย นำร่อง 9 แห่ง ได้แก่ 1.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต 2.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 3.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร 5.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 6.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 7.มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 8.มหาวิทยาลัยพะเยา 9.มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  11 พ.ย. 67 
 

 1  [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [ Next -> ]

News Clips Online