News Clips Online
 หน้าหลัก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
December  2024
Su M Tu W Th F Sa
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031
             
 Today is December 18, 2024
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

News Clips Online
News Clips  ประเภท การศึกษา

ปั้น"บัณฑิตคืนถิ่น".. ส่งคลุกปราชญ์ชาวบ้าน-เรียนวิถีชีวิต
ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ที่รุกเร้ารุนแรง มนุษย์ถือเป็นปัจจัยที่สำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ในขณะที่สถาบันการศึกษาเองก็มีหน้าที่สร้างบัณฑิต และองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับประเทศชาติ รวมถึงดึงผู้เรียนให้หันกลับไปพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ไม่ละทิ้งถิ่นฐาน และภูมิลำเนาเกิด เพื่อสร้างชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งได้
หนังสือพิมพ์มติชน:  16 เม.ย. 50 
 
คาดสมัครแอดมิสชั่นส์วันละ2หมื่น ลุ้นรับรอบสอง"กลุ่มสถาบันแพทย์"
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เปิดเผยความคืบหน้าการรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือแอดมิสชั่นส์ ประจำปีการศึกษา 2550 ซึ่งเริ่มรับสมัครตั้งแต่วันที่ 11-23 เมษายน ทางเว็บไซต์ www.cuas.or.th ว่า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เตรียมความพร้อมการรับสมัครทางอินเตอร์เน็ตดังกล่าวไว้แล้ว จึงมั่นใจว่าเว็บไซต์จะไม่ล่มแน่นอน
หนังสือพิมพ์มติชน:  12 เม.ย. 50 
 
"สนช."เคลียร์ปมแย้ง"ม.นอกระบบ" "วิจิตร"แนะม.ศิลปากรเลิกทะเลาะ
นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ให้สัมภาษณ์กรณีนายชุมพล ศิลปอาชา นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (มศก.) เสนอให้รัฐบาลยุติการผลักดันร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยนอกระบบราชการ เนื่องจากยังไม่ให้ความชัดเจนในเรื่องของความมั่นคงและสิทธิต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยจะได้รับหลังจากออกนอกระบบราชการแล้วว่า รัฐบาลยังไม่ได้เสนอร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐเข้าสู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ได้เสนอไปแล้วจำนวน 5 มหาวิทยาลัย และยังได้ให้ชะลอร่าง พ.ร.บ.ของมหาวิทยาลัยรัฐแห่งอื่นๆ
หนังสือพิมพ์มติชน:  12 เม.ย. 50 
 
พ่อแม่-ครู-สังคมตัวถ่วงเด็กอัจฉริยะ
ผศ.ดร.อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ ประธานโครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้ที่มีความสามารถพิเศษ(ฝ่ายGifted) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว)
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง:  12 เม.ย. 50 
 
พ่อ-แม่-ครู-สังคม..ตัวดีที่หนึ่งทอนความสามารถเด็กอัจฉริยะ
หนังสือพิมพ์ X-cite ไทยโพสต์:  12 เม.ย. 50 
 
ถกม.นอกระบบ "ใครได้-ใครเสีย"
เมื่อวันที่ 10 เมษายน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) นายชุมพล ศิลปอาชา นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (มศก.) กล่าวในการเสวนาเรื่อง "มหาวิทยาลัยไทยกับการเปลี่ยนสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ : ใครได้ ใครเสีย" ว่า ตนมีความคิดเห็นชัดเจนที่จะคัดค้านการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เนื่องจากรัฐบาลยังไม่สามารถสร้างความชัดเจนในเรื่องของความมั่นคงและสิทธิต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยจะได้รับหลังจากออกนอกระบบราชการแล้ว ดังนั้น อยากให้รัฐบาลและมหาวิทยาลัยรัฐต่างๆ ยุติเรื่องการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบราชการไปก่อน
หนังสือพิมพ์มติชน:  11 เม.ย. 50 
 
แนะพ่อแม่สังเกตลูกอัจฉริยะ
ผศ.ดร.อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ ประธานโครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้ที่มีความสามารถพิเศษ (ฝ่าย Gifted) ม.ศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีเด็กเกิดใหม่ปีละประมาณ 800,000-1,000,000 คนซึ่งจากงานวิจัยประมาณการได้ว่าจะมีเด็กอัจฉริยะเกิดขึ้นปีละประมาณ 8,000- 10,000 คน แต่ประเทศไทยไม่ค่อยสนใจเด็กกลุ่มนี้มากนัก จึงทำให้เด็กอัจฉริยะไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  11 เม.ย. 50 
 
สกอ.พร้อมรับแอดมิสชั่นส์11-23เม.ย.
.ส.จิรณี ตันติรัตนวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เตรียมความพร้อมในการรับสมัครในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษาใหม่ หรือแอดมิสชั่นส์ ประจำปีการศึกษา 2550 ระหว่างวันที่ 11-23 เมษายน เรียบร้อยแล้ว คาดว่าจะมีผู้สมัครแอดมิสชั่นส์มากกว่า 1.5 แสนคน จากยอดผู้เข้าสอบแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง หรือเอเน็ต 1.78 แสนคน
หนังสือพิมพ์มติชน:  11 เม.ย. 50 
 
“สมาธิ” พาฉลาด-คุมอารมณ์-ลดเครียด
ยอมรับเถอะว่า ผู้คนยุคนี้นับถือ “ศาสนา” เพียงแต่ปาก ยังละเลยและไม่สนใจ โดยเฉพาะเรื่อง “สมาธิ” อันเป็นบ่อเกิดของปัญญา รู้สติ รู้อารมณ์ ซึ่งสะท้อนได้จากภาพปัญหาสังคม ณ ขณะนี้ เป็นเพราะเราไม่สนใจปฏิบัติสมาธิ ทำให้ควบคุมตัวเองไม่ได้ ไม่รู้จักใจตัวเอง ส่งผลให้คนเครียดมากขึ้น เห็นแก่ตัว เกิดความขัดแย้งมากมาย หาความสงบสุขไม่ได้
งานวิจัยของนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) บ่งชี้ว่า “สมาธิ” นั้นให้คุณแก่เราหลายด้าน โดย นางสาวนัญชพัช พ้นชั่ว นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาจิตวิทยาคณะมนุษยศาสตร์ (มศว)
หนังสือพิมพ์สยามรัฐ:  9 เม.ย. 50 
 
มองต่างมุม ว่าด้วย "ครูแนะแนว" ร.ร.มัธยมฯ
วิรุณ ตั้งเจริญ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

"เด็กระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวนมากยังไม่มีจุดหมายในชีวิต ยังไม่รู้ว่าตัวเองชอบหรือถนัดอะไร บางคนเลือกเรียนเพราะพ่อแม่ให้เรียน เพราะสังคมชื่นชม หรือเลือกเรียนเพราะตามเพื่อน เรียนเพราะไม่รู้จะเรียนอะไร สอบๆ ให้ได้ก่อน ซึ่งสภาพเหล่านี้ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
หนังสือพิมพ์มติชน:  8 เม.ย. 50 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [47] [48] [49] [50] [51] [52] [53] [54] [55] [56] [57] [58] [59] [60] [61] [62] [63] [64] [65] [66] [67] [68] [69] [70] [71] [72] [73] [74] [75] [76] [77] [78] [79] [80] [81] [82] [83] [84] [85] [86] [87] [88] [89] [90] [91] [92] [93] [94] [95] [96] [97] [98] [99] [100] [101] [102] [103] [104] [105] [106] [107] [108] [109] [110] [111] [112] [113] [114] [115] [116] [117] [118] [119] [120] [121] [122] [123] [124] [125] [126] [127] [128] [129] [130] [131] [132] [133] [134] [135] [136] [137] [138] [139] [140] [141] [142] [143] [144] [145] [146] [147] [148] [149] [150] [151] [152] [153] [154] [155] [156] [157] [158] [159] [160] [161] [162] [163] [164] [165] [166] [167] [168] [169] [170] [171] [172] [173] [174] [175] [176] [177] [178] [179] [180] [181] [182] [183] [184] [185] [186] [187] [188] [189] [190] [191] [192] [193] [194] [195] [196] [197] [198] [199] [200] [201] [202] [203] [204] [205] [206] [207] [208] [209] [210] [211] [212] [213] [214] [215] [216] [217] [218] [219] [220] [221] [222] [223] [224] [225] [226] [227] [228] [229] [230] [231] [232] [233] [234] [235] [236] [237] [238] [239] [240] [241] [242] [243] [244] [245] [246] [247] [248] [249] [250] [251] [252] [253] [254] [255] [256] [257] [258] [259] [260] [261] [262] [263] [264] [265] [266] [267] [268] [269] [270] [271] [272] [273] [274] [275] [276] [277] [278] [279] [280] [281] [282] [283] [284] [285] [286] [287] [288] [289] [290] [291] [292] [293] [294] [295] [296] [297] [298] [299] [300] [301] [302] [303] [304] [305] [306] [307] [308] [309] [310] [311] [312] [313] [314] [315] [316] [317] [318] [319] [320] [321] [322] [323] [324] [325] [326] [327] [328] [329] [330] [331] [332] [333] [334] [335] [336] [337] [338] [339] [340] [341] [342] [343] [344] [345] [346] [347] [348] [349] [350] [351] [352] [353] [354] [355] [356] [357] [358] [359] [360] [361] [362] [363] [364] [365] [366] [367] [368] [369] [370] [371] [372] [373] [374] [375] [376] [377] [378] [379] [380] [381] [382] [383] [384] [385] [386] [387] [388] [389] [390] [391]  392  [393] [394] [395] [396] [397] [398] [399] [400] [401] [402] [403] [404] [405] [406] [407] [408] [409] [410] [411] [412] [413] [414] [415] [416] [417] [418] [419] [420] [421] [422] [423] [424] [425] [426] [427] [428] [429] [430] [431] [432] [433] [434] [435] [436] [437] [438] [439] [440] [441] [442] [443] [444] [445] [446] [447] [448] [449] [450] [451] [452] [453] [454] [455] [ Next -> ]

News Clips Online