News Clips Online
 หน้าหลัก  ข่าวประจำสัปดาห์  มศว ในข่าว  สมาชิก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
April  2023
Su M Tu W Th F Sa
      1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
30
             
 Today is April 1, 2023
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

ข่าวและกิจกรรม
ปฏิทิน มศว
ข่าวประกวดราคา/สอบราคา
หนังสือเวียน

News Clips Online
News Clips  ประเภท การแพทย์

ใช้ยางแท้ผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์
นางณพรัตน์ วิชิตชลชัย รองผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย ด้านอุตสาหกรรมยางและการผลิตยาง กล่าวว่า ได้ร่วมมือกับคณะแพทย์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และคณะแพทย ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทำงานวิจัย เพื่อนำน้ำยางพาราแท้ 100 เปอร์เซ็นต์
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  26 มี.ค. 62 
 
ภาวะการณ์ปวดข้อศอกเมื่อท่านปวดศอก
ภาวะการปวดข้อศอกนั้นพบได้บ่อยในเวชปฏิบัติโดยสาเหตุที่พบได้บ่อย เช่น หากเจ็บด้านข้างของข้อศอก มักจะมีปัญหาจากเส้นเอ็นมีภาวะสึกเสื่อม ที่เรียกกันบ่อย คือ tennis elbow หรือถ้าเจ็บบริเวณด้านในข้อศอก ก็มักจะวินิจฉัยว่าเป็น golfer elbow
ดังนั้น หากผู้ป่วยมีอาการปวดข้อศอกในขั้นต้น อาจใช้ยาลดปวด
หนังสือพิมพ์แนวหน้า:  4 มี.ค. 62 
 
มิราเคิล ออฟ ซาวด์ ช่วย'เด็กบกพร่องทางการได้ยิน'
ผศ.พญ.จรินรัตน์ สิริรัฐวรรณ รองคณบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาโสต สอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ แพทย์ที่ปรึกษาในชมรมประสาทหูเทียมแห่งประเทศไทย บอกว่า ปัญหาการได้ยินเสียงของเด็กส่วนใหญ่มาจากการตั้งครรภ์ของคุณแม่ดูแลตัวเองได้ดีแค่ไหน บ้านเราพาเด็กมารักษาช้าเมื่อเด็กมีอายุ 3-4 ขวบแล้ว อาจเพราะรู้ช้าหรือบางรายปฏิเสธการรักษา ขอแนะนำให้พาเด็กแรกเกิดตรวจทดสอบการได้ยิน หลังจากนั้นให้สังเกตเมื่อพูดคุยกับลูก โดยอยู่ด้านหลังเด็กแล้วลองเรียกเขา ถ้าเขาไม่ตอบเสียงเรียกก็อาจจะมีอะไรผิดปกติ หรือเมื่อเด็กอายุ 1 ขวบแล้วยังไม่เรียกพ่อ แม่ ควรนำเด็กมาตรวจการได้ยินเสียง อย่างช้าไม่เกินขวบครึ่ง อย่าปล่อยให้ประสาทหูเสื่อมมากจนกลายเป็นหูหนวก จะไม่สามารถรักษาได้ ในรายที่ประสาทหูเสื่อมไม่มาก ให้ใช้เครื่องช่วยฟัง แล้วฝึกพูด ฝึกฟัง ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตปกติ
หนังสือพิมพ์มติชน:  14 ม.ค. 62 
 
ภัยเงียบ'ความดันโลหิตสูง
นพ.จิรวัฒน์ เชี่ยวเฉลิมศรี อาจารย์แพทย์สาขาอายุรกรรม ประจำศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูง แนะนำการดูสุขภาพว่า อาการของโรคความดันโลหิตสูง โดยส่วนใหญ่มักไม่ค่อยแสดงความผิดปกติ เว้นแต่ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ระดับรุนแรง อาจมีอาการปวดศีรษะ มึนศีรษะ ตามัว เลือดกำเดาไหล ซึ่งอาการเหล่านี้ ถือเป็นอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง และบอกไม่ได้ชัดเจน จึงทำให้โรคนี้ถูกเรียกว่าเป็น "ฆาตกรเงียบ"
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  5 ธ.ค. 61 
 
ทีเอ็มบี ยื่นมือช่วยแก้ปัญหา เด็กมีภาวะบกพร่องทางการได้ยิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจรินรัตน์ สิริรัฐวรรณ รองคณบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาโสต สอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ แพทย์ที่ปรึกษาในชมรมประสาทหูเทียมแห่งประเทศไทย เผยว่า ปัญหาการได้ยินเสียงของเด็กส่วนใหญ่มาจากการ ตั้งครรภ์ของคุณแม่ดูแลตัวเองได้ดีแค่ไหน บ้านเรา พาเด็กมารักษาช้าเมื่อเด็กมีอายุ 3-4 ขวบแล้ว อาจเพราะรู้ช้า หรือบางรายปฏิเสธการรักษา
หนังสือพิมพ์แนวหน้า:  29 พ.ย. 61 
 
ชวนคนกรุง "เปลี่ยนก่อนป่วย" มุ่งสู่การเป็นมหานครไร้โรคอย่างยั่งยืน
ตัวอย่างของผู้ลดโรค เพิ่มสุขจากสุขภาพดีตัวจริงเสียงจริง ผศ.ดร.ทรงพล ต่อนี หัวหน้าภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะพลศึกษา มศว และอัตถพร ชีพเป็นสุข ร่วมเผยประสบการณ์ส่วนตัวที่เคยเปลี่ยน
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  26 พ.ย. 61 
 
เด็กบกพร่องทางการได้ยิน รักษาได้ด้วย 'ประสาทหูเทียม'
ผศ.พญ.จรินรัตน์ สิริรัฐวรรณ รองคณบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาโสต สอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ และแพทย์ที่ปรึกษาในชมรมประสาทหูเทียมแห่งประเทศไทยได้กล่าวภายในงาน "ทีเอ็มบี" ส่งมอบโครงการมิราเคิล ออฟ ซาวด์ ให้แก่ "ชมรมประสาทหูเทียมแห่งประเทศไทย" โดยได้ ปิติ ตัณฑเกษม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ทีเอ็มบี เป็นผู้ส่งมอบโครงการ
หนังสือพิมพ์มติชน:  23 พ.ย. 61 
 
2,000รายสังเวยชีวิตต่อปี'หืด'โรคร้ายใกล้ตัวคนไทย
"โรคหืด" (Asthma) คือโรคของระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเกิดจากความไวผิดปกติของหลอดลมต่อสิ่งกระตุ้น ทำให้ท่อทางเดินหายใจเกิดการตีบแคบ และทำให้หายใจลำบาก โดยอาการของโรคหืดหอบนั้นเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น หลอดลมจะเกิดอาการอักเสบ เยื่อบุหลอดลมจะบวมทำให้หลอดลมตีบแคบลง ขณะเดียวกันการอักเสบทำให้หลอดลมมีความไวต่อการกระตุ้น และตอบสนอง โดยการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม ทำให้หลอดลมตีบแคบลงไปอีก
หนังสือพิมพ์แนวหน้า:  15 พ.ย. 61 
 
ทีเซลส์หนุนต.ค.'ขึ้นทะเบียน'สร้างเครือข่ายวิจัยสเต็มเซลล์
รัฐจักร รังสิวิวัฒน์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวว่า ปัญหาในเชิงการวิจัยและพัฒนาด้านสเต็มเซลล์ คือ แหล่งที่มาของสเต็มเซลล์ซึ่งต้องซื้อจากบริษัทเอกชนมาในราคาสูง ทำให้หลายคนพยายามมองหานักวิจัยไทยที่พัฒนาเซลล์ไลน์หรือเซลล์สายพันธุ์ ใหม่ๆ เพื่อเป็นแหล่งผลิตภายในประเทศ โดยปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยเพียง 2 แห่งคือ มหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีการสร้างเซลล์ไลน์โดยเฉพาะ
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ:  17 ก.ย. 61 
 
การป้องกัน โรคผู้สูงอายุ
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงพยาบาลชุมแพ จ.ขอนแก่น ศึกษาหาภูมิต้านทานต่อโรคคอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก ในผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-100 ปี
โพสต์ทูเดย์:  6 ส.ค. 61 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13]  14  [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [ Next -> ]

News Clips Online