News Clips Online
 หน้าหลัก  Login
ข่าวและกิจกรรม มศว
ข่าวและกิจกรรม มศว
December  2024
Su M Tu W Th F Sa
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031
             
 Today is December 18, 2024
การศึกษา
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
กีฬา
การแพทย์
สังคม
ทั่วไป
สุขภาพ
บันเทิง
ศิลปวัฒนธรรม
แฟชั่น

News Clips Online
News Clips  ประเภท การแพทย์

'ปลดล็อก' สร้างแรงบันดาลใจ
ความเครียดสะสมที่ขาดวิธีการจัดการล้วนส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจ นำไปสู่ความวิตกกังวล อารมณ์ไม่มั่นคง ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน การเรียน และสัมพันธภาพต่อครอบครัวและบุคคลแวดล้อม...

การทำงาน การเรียน ความเครียด ความกดดัน การทำกิจวัตรเดิมซ้ำ ๆ ขาดแรงจูงใจยังส่งผลอาจทำให้หมดไฟ หมดพลังสร้างสรรค์ เริ่มต้นสิ่งใหม่ ๆ ทั้งนี้ชวนเติมความสุข ค้นแรงบันดาลใจ ปลุกไฟในการทำงาน การเรียน ปลดล็อกพร้อมลุยกับสิ่งที่จะเป็นอุปสรรค ชวนสำรวจ สังเกตภาวะหมดไฟ โดย แพทย์หญิงอชิรญา สุวรรณหงส์ หัวหน้าสาขาวิชาจิตเวช ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ให้ความรู้ในประเด็นนี้ว่า ภาวะหมดไฟ มักพบในคนวัยทำงานที่พบกับ ความเครียดสะสมเรื้อรัง จากการงานมายาวนานและไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์:  16 ม.ค. 66 
 
รับมอบอุปกรณ์ทางการแพทย์
นพ.ธนวัฒน์ อุณหโชค รองผู้อำนวยการฝ่าย สำนักงานศูนย์ฯ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รับมอบอุปกรณ์ทางการแพทย์ สำหรับครอบครัวนำกลับไปใช้ดูแลรักษาผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน รวมมูลค่า 1,200,000 บาท จาก ภาสินี ปรีชาธนาพล กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิหนึ่งคนให้ หลายคนรับ เพื่อช่วยลดอัตราการครองเตียงและลดภาระโรงพยาบาลในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ที่ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุกชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หนังสือพิมพ์สยามรัฐ:  6 ม.ค. 66 
 
รับมอบอุปกรณ์ทางการแพทย์
นพ.ธนวัฒน์ อุณหโชค รองผู้อำนวยการฝ่าย สำนักงานศูนย์ฯ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รับมอบอุปกรณ์ทางการแพทย์ สำหรับครอบครัวนำกลับไปใช้ดูแลรักษาผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน รวมมูลค่า 1,200,000 บาท จากนางสาวภาสินี ปรีชาธนาพล กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิหนึ่งคนให้ หลายคนรับ เพื่อช่วยลดอัตราการครองเตียง และลดภาระโรงพยาบาลในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ณ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน:  6 ม.ค. 66 
 
เปิดข้อเท็จจริง "อะมีบากินสมอง" หลังพบชายเกาหลีใต้ติดเชื้อจนเสียชีวิต
"หมอหมู" เปิดข้อเท็จจริง "อะมีบากินสมอง" หรือ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากอะมีบา หลังพบชายเกาหลีใต้ติดเชื้อจนเสียชีวิต
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  3 ม.ค. 66 
 
ภาวะเลือดออกในสมอง" ในเด็กภาวะอันตรายถึงชีวิต เช็คอาการเบื้องต้น
รศ.นพ.วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านนิติเวชวิทยาศาสตร์ มศว โพสต์ข้อมูล "ภาวะเลือดออกในมอง" ว่า ในประเทศไทย มีรายงานวิจัยพบภาวะเลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอกได้ประมาณร้อยละ 2-3 ของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บรุนแรงที่ศีรษะ ภาวะนี้พบได้ในทุกอายุ โดยพบว่าในเด็ก (อายุมากกว่า 2 ปี) มีโอกาสเกิดได้มากกว่าในผู้ใหญ่ เนื่องจากเยื่อดูราแยกออกจากผิวด้านในของกะโหลกได้ง่ายกว่า
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก:  2 ธ.ค. 65 
 
วช. เปิดนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ระบบทางเดินหายใจ
ผศ.ดร.ดิเรก เสือสีนาค อาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับแพทย์หญิงสิรภัทร ตุลาธรรมกิจ อาจารย์จากภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในการคิดค้นนวัตกรรมเทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้ระบบทางเดินหายใจนี้ โดยกลไกทักษะการฟังเสียงการหายใจด้วยตนเองนั้น จะประกอบไปด้วย 2 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชันการเรียนรู้ทดสอบการฟังเสียงการหายใจด้วยแอปพลิเคชันและฟังก์ชันการช่วยระบุตำแหน่งการวางเครื่องฟังการหายใจ และระบบจำแนกเสียงการหายใจด้วย Machine learning
ฐานเศรษฐกิจ:  1 ธ.ค. 65 
 
KKP รวมพลังจิตอาสาใน ‘โครงการอาสา สร้างโอกาส’ ทำหมอนหลอด ส่งต่อผู้ป่วยติดเตียง
นางสาวพัทนัย เหลืองตระกูล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำนักสื่อสารองค์กรและการตลาด (ที่ 6 จากขวา) เป็นผู้แทนมอบหมอนหลอด จำนวน 100 ใบ ให้แก่ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมี ผศ.นพ.สุรสิทธิ์ ตั้งสกุลวัฒนา ผู้อำนวยการศูนย์การแพทย์ฯ (ที่ 5 จากซ้าย) เป็นผู้รับมอบ ณ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มิติหุ้น:  30 พ.ย. 65 
 
กรมควบคุมโรค ร่วมกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน
นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์อธิบดีกรมควบคุมโรค เปิดเผยว่า สถานการณ์การติดเชื้อโรคโควิด-19 ในกลุ่มเด็ก พบอัตราป่วยในเด็กเล็ก มากกว่าเด็กโต 1.5 เท่า และป่วยเสียชีวิต มากกว่าเด็กโต 3 เท่า ประกอบกับ พบเด็กที่มีภาวะ Mis-C หรือ Long COVID ที่มีอาการรุนแรง ในผู้ป่วยเด็กเป็นสัดส่วน ที่สูงขึ้น จึงควรเร่งรัดการฉีดวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายเด็ก ทางกรมควบคุมโรค จึงร่วมมือกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวง พม. และประสานขอความร่วมมือจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี เขตสุขภาพ 4 และศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเพื่อเร่งดำเนินการฉีด วัคซีนให้กับกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 6 เดือน ถึงต่ำกว่า 5 ปีในสถานสงเคราะห์เด็กพญาไท และมีแผนการเร่งรัดการฉีดให้เด็กเล็กในสถานสงเคราะห์ทั่วประเทศเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด และลดความรุนแรงในกลุ่มเป้าหมายเด็กเล็ก
หนังสือพิมพ์แนวหน้า:  10 พ.ย. 65 
 
มฟล.จับมือคณะทันตแพทย์ 17 มหา’ลัย ประกาศปฏิญญาว่าด้วยการดูแลสุภาพจิต น.ศ.ทันตะ
ผศ.(พิเศษ) ทพ.ไพศาล กังวลกิจ คณบดีสำนักวิชาทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (มฟล.) เปิดเผยว่า สำนักวิชาทันตแพทยศาสตร์ มฟล.จัดพิธีลงนามในปฏิญญาว่าด้วยการดูแลสุภาพจิตในคณะทันตแพทยศาสตร์ ประเทศไทย ร่วมกับคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ 17 แห่งจากทั่วประเทศ ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หนังสือพิมพ์มติชน:  9 พ.ย. 65 
 
วิโนน่า ผนึก มศว ลงนาม MOU ใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกสายพันธุ์ใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เปิดเผยว่า "ความร่วมมือครั้งนี้ บริษัท วิโนน่า เฟมินิน จำกัด ในฐานะพันธมิตรจากภาคเอกชน ได้เข้ามาร่วมมือกับ มศว ในการลงนามสัญญาการถ่ายทอดเทคโนโลยีและอนุญาตให้ใช้สิทธิ ผลงานเชื้อ จุลินทรีย์โพรไบโอติกสายพันธุ์ Bifidobacterium animalis TA-1 โดย มศว มีนโยบายการส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม
หนังสือพิมพ์แนวหน้า:  7 พ.ย. 65 
 

[ <- Prev ] [1] [2] [3]  4  [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [ Next -> ]

News Clips Online